ควบรวมทรู-ดีแทค ยึดประโยชน์สาธารณะหรือเอกชน สร้างความไม่พอใจหรือไม่?
วิเคราะห์ประเด็นที่ต้องจับตา ถ้าดีลแสนล้าน ทรู-ดีแทค เป็นจริง
สฤณี-ธันยวัชร์ คิดอย่างไรหลังอ่านหนังสือ “ความสำเร็จดีใจได้วันเดียว” ของเจ้าสัวธนินท์หากการควบรวมเกมสล็อตออนไลน์ ดังกล่าวเกิดขึ้นจริงจะส่งผลทำให้ผู้ให้บริการด้านอินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์มือถือยักษ์ใหญ่อันดับที่ 2 อย่างทรู และอันดับที่ 3 อย่างดีแทครวมกันเป็นผู้เล่นรายเดียวและรายใหญ่อันดับหนึ่ง แซงหน้าเจ้าตลาดเดิมอย่างเอไอเอส และทำให้มีผู้เล่นเหลือเพียง 2 รายที่มีส่วนแบ่งการตลาดใกล้เคียงกัน ซึ่งจะส่งผลให้การแข่งขันในตลาดลดลง และท้ายสุดผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด ก็คือ “ผู้บริโภค” ฉะนั้นจึงเป็นทางด้านของกสทช.ทางทีมคณะจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเป็นผู้ตัดสินและลงมัติสำหรับเรื่องราวที่กำลังเป็นประเด็ดและเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ในตอนนี้ และจากคำตัดสินขององค์กรอิสระที่เป็นผู้กำกับอุตสาหกรรมโทรคมนาคมก็ได้ออกมาทำการแถลงประกาศการพิจารณาสร้างความร่วมมืออย่างเท่าเทียมกัน Equal Partnership ที่จะส่งผลให้เครือซีพีและกลุ่มเทเลนอร์ได้มีการออกมาถือหุ้นเท่าเทียมกันสำหรับบริษัทใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้นในไม่ช้า
กสทช. เปิดไฟเขียว ผ่านตลอด
ในกรณีที่ไม่มีอำนาจยับยั้งหรือเป็นเพียงการรับทราบการรวมกิจการซึ่งขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของที่ประชุมเกมสล็อตออนไลน์ กสทช. ในครั้งนี้นพ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา อดีตกรรมการ กสทช. ได้ให้คำอธิบายให้บีบีซีไทยฟังว่าคาดว่าลำดับของพิจารณาในที่ประชุมของ กสทช. จะหยิบยกประเด็นเรื่อง”อำนาจทางกฎหมาย” มาก่อน เนื่องจากฝ่ายเอกชนได้พยายามเร่งรัดให้ กสทช. “รับทราบ” รายงานการรวมธุรกิจของผู้แจ้งการรวมธุรกิจซึ่งหนึ่งในตัวอย่างที่ปรากฏในสื่อมวลชนคือ การรายงานข่าวทางเว็บไซต์ของฐานเศรษฐกิจประจำวันที่ 24 ส.ค. ที่เผยแพร่ส่วนหนึ่งของหนังสือของทรูและดีแทคที่ส่งถึงประธาน กสทช. และคณะกรรมการรายอื่นๆเพื่อเร่งรัดพิจารณาการรวมกิจการดังกล่าว และเขานั้นได้ให้สัมภษณ์กับสื่อเอาไวว่า “อย่างไรก็ตาม หากที่ประชุม กสทช. มีมติเห็นว่าไม่มีอำนาจพิจารณาดังกล่าวก็จะทำได้เพียงรับทราบเท่านั้นถือเป็นการให้ไฟเขียวแบบผ่านตลอด” ซึ่งในห้วงเวลาที่ผ่านมามีหลายหน่วยงานด้านกฎหมายได้ให้คำแนะนำว่า กสทช. มีอำนาจทางกฎหมายในการตัดสินเรื่องนี้ด้วย อดีตกรรมการ กสทช. รายนี้กรณีคำสั่งศาลปกครองกลางเมื่อ 16 มิ.ย. ที่ระบุว่า กสทช. มีอำนาจพิจารณาสั่งห้ามการรวมธุรกิจได้หากเห็นว่าการรวมธุรกิจอาจส่งผลให้เกิดการผูกขาด หรือลดหรือจำกัดในการให้บริการโทรคมนาคมคำสั่งของศาลปกครองกลางนี้เป็นผลมาจาก นายณภัทร วินิจฉัยกุล กรรมการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของ กสทช. ได้ยื่นขอทุเลาการใช้ประกาศ กสทช. พ.ศ. 2561 และขอให้กลับไปใช้ประกาศ กสทช. พ.ศ. 2553 แทน แต่ในที่สุดศาลได้ระบุชัดเจนว่า ประกาศ กสทช. พ.ศ. 2561 ยังมีอำนาจอยู่
การแข่งขัน คือ กลไกการตลาดที่มีประสิทธิภาพ
ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ทีดีอาร์ไอ ได้โพสต์ข้อสังเกตบนเฟซบุ๊กส่วนตัวเมื่อวันที่ 10 ต.ค. ที่ผ่านมาโดยส่วนหนึ่งระบุว่า เกมสล็อตออนไลน์ การควบรวมครั้งนี้จะส่งผลกระทบในด้านลบต่อผู้บริโภคและระบบเศรษฐกิจไทยอย่างมาก เนื่องจากจะทำให้ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ของไทยมีโครงสร้างผูกขาดมากขึ้น จากการที่จำนวนผู้ประกอบการรายใหญ่ลดลงจาก 3 รายเหลือเพียง 2 ราย”ยากที่จะแก้ไขให้ตลาดกลับมามีผู้ประกอบการ 3 ราย และมีระดับการแข่งขันเช่นเดิมได้อีกในอนาคต เพราะตลาดดังกล่าวเข้าสู่ภาวะอิ่มตัวแล้วไม่น่าจะมีรายใหม่สนใจเข้ามาให้บริการได้อีก”
กสทช. เปิดไฟแดง
กสทช. มีมติสั่งห้ามการควบรวมกิจการ จากการส่งสัญญาณจากเอกชนบางรายมาแล้วว่าหากต้องพบกับทางตันหรือว่าการไม่ผ่านไฟแดง สุดท้ายแล้วนั้นยังไงก็ไม่สามารถอยู่รอดในประเทศไทย ในช่วงเศษฐกิจแบบนี้ได้และอาจจะทำให้ต้องออกจากตลาดและจะทำให้เหลือผู้เล่นในตลาดเพียง 2 รายอยู่ดีแต่ถึงอย่างไรแล้วขนาดธุรกิจของผู้เล่นที่เหลือก็แตกต่างกันจนอาจจะทำให้แข่งขันกันไม่ได้ และยังได้มีการกล่าวเอาไว้เอาอีกว่า”เอกชนอาจจะมองว่าเกมสล็อตออนไลน์ สภาพการณ์ดังกล่าวอาจจะทำให้ผู้ประกอบการเผชิญกับสถานการณ์ที่ร้ายแรงกว่ากรณีให้ไฟเขียวที่ไม่มีผู้ประกอบการรายได้ล้มหายตายจากไปในที่สุด” ในกรณีดังกล่าวก็ถือว่าเป็นโจทย์ที่ท้าทายของ กสทช. ที่เนื่องจากว่า ที่ผ่านมา บทบาทการส่งเสริมผู้ประกอบการรายเล็กในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมยังมีไม่มากเท่าที่ควรในขณะเดียวกันยังไม่สามารถกำกับผู้มีอำนาจเหนือตลาดได้ จึงทำให้สภาพการแข่งขันไม่เอื้ออำนวยต่อผู้ประกอบการรายกลางและเล็กจากคำพูดของนพ. ประวิทย์ ที่เขานั้นได้พูดกล่าวเอาไวในบทสัมภาษณ์
การควบรวมธุรกิจดังกล่าวไม่ได้มุ่งประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมไทย
เนื้อหารายงานเกมสล็อตออนไลน์ ดังกล่าวที่สภาองค์กรผู้บริโภคนำเสนอบ่งชี้ว่า ไม่ควรอนุญาตให้เกิดการควบรวมผลวิจัยของนักวิชาการอิสระต่างประเทศระบุว่า หาก กสทช. ไม่มีอำนาจยับยั้งการควบรวมทางเลือกที่ต้องดำเนินการคือการกำหนดเงื่อนไขหรือมาตรการเฉพาะ ซึ่งจากการศึกษาไม่สามารถยืนยันว่าเงื่อนไขหรือมาตรการเฉพาะเหล่านี้จะมีประสิทธิภาพจริง และทางเลือกสุดท้าย คือการป้องกันมิให้มีการขึ้นราคาและส่งผลเสียต่อผู้บริโภค โดยการกำกับดูแลโดยตรงอย่างเข้มงวด